สารบัญภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563


  • คณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้น ม.6/4
    • ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
    • อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
    • อินทิเกรต
  • คณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33206) ชั้น ม.6/1 – 2 (SMTE, SMET)
    • ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
    • อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
    • อินทิเกรต
  • Additional Mathematics (ค33211) ชั้น ม.6/3 (IEP)
    • Introduction to Calculus
  • Additional Mathematics (ค32209) ชั้น ม.5/3 (IEP)
    • Exponential Functions
    • Logarithmic Functions

อ่าน/ดูเพิ่มเติม

  • (6/1, 2, 3, 4) PreCaculus via YouTube
  • คณิตศาสตร์กับการพัฒนาประเทศ

  • (5/3) บทนำฟังก์ชันเลขชี้กำลังและลอการิทึม

แบบสำรวจความต้องการเอกสาร PDF


เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่นักเรียนที่มีอุปกรณ์พกพาที่สามารถบันทึกข้อมูลด้วยการเขียนได้ (iPad, Tablet) และเป็นการสนองนโยบายลดการใช้กระดาษเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมและประหยัดงบประมาณ

นักเรียนที่มีอุปกรณ์พกพาและต้องการเอกสารประกอบการเรียนการสอนที่เป็นไฟล์ PDF เพื่อใช้ในการเรียนรู้ ให้บันทึกข้อมูลลงในแบบฟอร์มต่อไปนี้ เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมสำหรับการเรียนในภาคเรียนที่ 2 ต่อไปครับ

กรอกแบบสำรวจตามลิงค์ด้านล่างนี้นะครับ

https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSc4X8yVHX4c_qxBACJEbqnANrvSQepTYK4t_ywdO6f5A7ROBw/viewform

ขอบคุณนักเรียนทุกคนที่ให้ความร่วมมือนะครับ

ครูอั๋น
29Nov20

บันทึกการส่งงาน/คะแนนสอบ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562


บันทึกคะแนนและการส่งงานของนักเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562
(รหัสการเข้าลิงค์แจ้งกับนักเรียนในห้องเรียนนะครับ)

ม.1/4 รายวิชา Additional Mathematics (คลิกดู)

ม.2/1, 2, 3 รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (คลิกดู)

ม.2/4 รายวิชา Additional Mathematics (คลิกดู)

ม.2/6, 8 รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (คลิกดู)

ม.5/3 รายวิชา Additional Mathematics (คลิกดู)

ม.6/3 รายวิชาเสริมคิดคณิตศาสตร์ (คลิกดู)

`

 

ว่าด้วยเรื่องโครงงานคณิตศาสตร์


ในฐานที่เคยเป็นทั้งผู้ทำโครงงาน ครูที่ปรึกษาโครงงาน กรรมการวิพากษ์โครงงาน และกรรมการตัดสินการประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ มาหลายปี อยากสะท้อนความคิดเห็นที่ได้จากการได้เห็นได้อ่านโครงงานต่างๆ เพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำโครงงานสำหรับนักเรียน และการตรวจแก้ให้คำปรึกษาสำหรับครูที่ปรึกษา เป็นอีกมุมมองหนึ่งนะครับ

img_0991

<<<คลิกเพื่ออ่านต่อ>>>

สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง


ตำแหน่งสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงคือตำแหน่งอะไร มีความเฉพาะเจาะจงอย่างไร และเจ้านายฝ่ายในที่จะอยู่ในตำแหน่งนี้ได้ต้องเป็นอย่างไร ทางนี้มีคำตอบครับ (ขออนุญาตให้คำสามัญ)

via สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง

สารบัญภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560


สารบัญ

สารบัญภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560

(คลิกตามที่วิชาจะพาไปยังหน้าวิชานั้นๆ ครับ)

  • Additional Mathematics ม.4 (IEP)

  • คณิตศาสตร์เข้มข้น ม.4

  • คณิตศาสตร์เข้มข้น ม.5

  • คณิตศาสตร์เข้มข้น ม.6

  • คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.6

  • Math for SMET ม.1 (เสริมวันเสาร์)

การสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันโดยใช้ MS Excel


เครดิต mathematics-pattiya.weebly.com/uploads/2/6/9/2/26920871/1658775_orig.jpg

นักเรียนสามารถศึกษาการสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันโดยใช้ MS Excel ได้จากลิงค์

https://coolaun.com/math6/excel/

 

โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาสูตรพื้นที่ของรูป n เหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่าที่มีวงกลมแนบนอกหรือแนบใน


โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาสูตรพื้นที่ของรูป n เหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่าที่มีวงกลมแนบนอกหรือแนบใน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ชนะเลิศโครงงานคณิตศาสตร์ มูลนิธิเปรมติณสูลานน์ ภาคตะวันออนเฉียงเหนือ ระดับจังหวัด

คลิกเพื่อดูบทคัดย่อ

นักคณิตศาสตร์หญิงเจ้าของรางวัลฟิลด์คนแรกจากไปด้วยมะเร็ง


หลังจากเมื่อช่วงสงกรานต์ที่ผ่านมาเราสูญเสียศาสตราจารย์ ดร. ณรงค์ ปั้นนิ่ม (ค.ศ.1951 – 2017, พ.ศ.2494 – 2560) ผู้ที่เป็นทั้งนักคณิตศาสตร์ และครู ที่เป็นแรงบันดาลใจกับครูคณิตศาสตร์มากมาย
มาถึงเดือนนี เมื่อวันเสาร์ที่ 15 ที่ผ่านมา วงการคณิตศาสตร์โลกก็สูญเสีย มาเรียม มีร์ซาคานี (Maryam Mirzakhani, 1977 – 2017, พ.ศ.2520 – 2560) นักคณิตศาสตร์หญิงชาวอิหร่านวัย 40 ปี เจ้าของรางวัลเหรียญฟิลด์ (Fields Medal) คนแรกที่เป็นสตรี เมื่อปี ค.ศ.2014 ทั้งนี้มาเรียมเป็นเจ้าของรางวัลเหรียญทองคณิตศาสตร์โอลิมปิก 2 ครั้ง ในปี 1994 และ 1995 โดยในปีหลังมาเรียมได้คะแนนเต็ม 42 คะแนน
มาเรียมจบปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีชาริฟ (Sharif University of Technology) ที่อิหร่าน ในปี 1999 และปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด สหรัฐอเมริกา ในปี 2004 ที่ซึ่งเธอดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์เมื่ออายุ 31 ปี

โดยมาเรียมได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยเป็นโรคมะเร็งเต้านมในปี 2013 หลังจากพยายามรักษานาน 4 ปี มะเร็งได้ลุกลามไปยังไขกระดูกของเธอ และเป็นสาเหตุทำให้เธอเสียชีวิตในที่สุด

ต้นฉบับข่าว

Award-winning Iranian mathematician Maryam Mirzakhani has reportedly passed away due to cancer at a hospital in the United States.

Iran’s Mehr News Agency cited one of Mirzakhani’s relatives as confirming her death on Saturday.

Firouz Naderi, a former Iranian director of Solar Systems Exploration at NASA, had also announced her death in an Instagram post earlier in the day.

Mirzakhani had recently been taken to hospital as her health condition worsened due to breast cancer. Cancerous cells had recently spread to her bone marrow. She had already been battling the disease for several years.

In 2014, Mirzakhani was awarded the coveted Fields Medal, also known as the Nobel Prize of mathematics. The 40-year-old, who used to teach at Stanford University, was also the first Iranian woman to be elected to the US National Academy of Sciences (NAS) in May 2016 in recognition of her “distinguished and continuing achievement in original research.”

Mirzakhani was born in Tehran in 1977 and brought up in the Islamic Republic.

She scored the International Mathematical Olympiad’s gold medal twice — in 1994 and 1995. In the second competition, she received the contest’s full 42 points.

She then earned her bachelor’s degree from Iran’s prestigious Sharif University of Technology in 1999, and followed up the rest of her education in the United States, where she earned a doctoral degree from Harvard University in 2004 and became full professor of mathematics at Stanford at the age of 31.

She is survived by husband Jan Vondrák, a Czech theoretical computer scientist, and their daughter Anahita.

Condolences pouring in over Mirzakhani’s death

In a message, Iranian President Hassan Rouhani said Mirzakhani’s “doleful passing” has caused “great sorrow.”

The president praised her scientific achievements, saying the “unprecedented brilliance of this creative scientist and modest human being, who made Iran’s name resonate in the world’s scientific forums, was a turning point in showing the great will of Iranian women and young people on the path towards reaching the peaks of glory and in various international arenas,” read part of the message.

In a post on Instagram, Iranian Foreign Minister Mohammad Javad Zarif also offered his condolences over Mirzakhani’s death.

He said that the death of the young Iranian math genius has caused grief for all Iranians who take pride in their country’s prominent scientific figures.

Iranian Parliament Speaker Ali Larijani also offered his condolences in a post on his Instagram’s account.

In a tweet, Gary Lewis, UN Resident Coordinator for the Islamic Republic of Iran, also expressed his sorrow over Mirzakhani’s death. “Sad to learn about the passing of #MaryamMirzakhani – the intelligent #Iranian daughter, wife, mother, professor. May her eternal soul RIP.”

เครดิต

สารบัญภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560


(แก้ไขและอับเดทอยู่เรื่อยๆ นะครับ)

16586990_1206834146020571_8365772245694546051_o-tile

ค2120… คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1/4 (เน้นภาษาอังกฤษ)
Ma2120… Additonal Mathematics M.1/4 (IEP)

Applications, Numbers and Numerals,
Applications of Integer Numbers and Indices, Geometric Construction

ค3120… คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.4/3 (เน้นภาษาอังกฤษ)
mA3120… aDDITIONAL mATHEMATICS m.4/3 (iep)

Logic,
Matrix and Linear Systems of Equations

  • Course Syllabus
  • Contents:
    • An introduction to Logic: Propositions or statements, Truth value, Truth value table, Equivalent propositions, Reasoning, Quantifiers and Truth value of proposition with a Quantifier.
    • Matrix and Linear Systems of Equations: Matrix, Operations on Matrix, Determinant, solving of linear system of equations by using the properties of multiplication on Matrix and Cramer’s Rule.

ค33201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.6/6

สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล การแจกแจงปกติ
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล ลำดับอนันต์และอนุกรมอนันต์

  • เค้าโครงรายวิชา
  • เนื้อหา
    • สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
      • ทบทวนความรู้พื้นฐาน
      • การวัดค่ากลางของข้อมูลที่แจกแจงความถี่เป็นอันตรภาคชั้น
      • การวัดการกระจาย
    • การแจกแจงปกติ
      • ค่ามาตรฐาน
      • การแจกแจงปกติ
      • เล้นโค้งปกติ
    • ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
      • การสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลที่ประกอบด้วยสองตัวแปร
      • การสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลที่ประกอบด้วยสองตัวแปรที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลาโดยใช้เครื่องคำนวณ
      • ใช้ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลทำนายค่าตัวแปรตามเมื่องกำหนดตัวแปรอิสระให้
    • ลำดับและอนุกรมอนันต์
      • ลิมิตของลำดับอนันต์
      • ผลบวกของอนุกรมอนันต์

ค33201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติมแบบเข้ม สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯ ม.4, 5, 6